ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น ทฤษฎีที่นักกีฬาว่ายน้ำหลายคน นิยมใช้ทำเวลาเพื่อเข้าเส้นชัย

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น เทคนิคดี ๆ ที่หลาย ๆ คนที่ชื่นชอบการว่ายน้ำหรืออยากพัฒนา การว่ายน้ำให้โปรมากขึ้น มีเทคนิคดี ๆ มาฝากกัน

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น ในปัจจุบันถือว่า คือช่วงเวลา ที่วิทยาศาสตร์การกีฬา เข้ามามีบทบาทกับ การแข่งขันของบรรดา นักกีฬาอย่างปฏิเสธไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นนักว่ายน้ำ ที่อยู่ในระดับโลก ที่มีการสร้างสถิติ ใหม่ขึ้นมาอยู่ตลอด ไปจนถึง อุปกรณ์กีฬา นักกีฬาอาชีพทั่วไป ที่มีการทำเวลา ได้เร็วมากขึ้น กว่าสถิติที่ได้ทำไว้ ก่อนหน้านี้

การมีอาหารตาม หลักโภชนาการที่ดีขึ้น การปรับวิธีฝึกซ้อม เพื่อให้เข้ากับนักกีฬา แต่ละคนมากกว่าเดิม รวมไปถึงการเลือก ประเภทกีฬา ให้เข้ากับสรีระมาตั้งแต่เด็ก ๆ

ถือว่าเป็นสิ่งที่ ช่วยให้แรงขับเคลื่อน ประสิทธิภาพให้นักว่ายนํ้า ในปัจจุบัน ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น ได้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงรายละเอียดเล็กน้อย เช่นเนื้อผ้าของ ชุดที่ใส่ลงแข่ง ไปจนถึงวิธีการหายใจ ที่จะช่วยส่งเสริม ต่อการ ว่า ย น้ํา ฟรี สไตล์ ให้เร็ว หรือท่าอื่น ๆ อีกด้วย

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น

ก่อนจะพูดถึง วิธีการที่นำไปวิเคราะห์ ในเหตุการณ์จริง

วันนี้จะมาเล่าให้ฟังว่า “Bernoulli’s Principle” นั่นคืออะไร และเพื่อมองให้เห็นภาพ จะขอพูดถึงหลักการของไหล หรือ “Fluid Dynamics” ถือว่าเป็นข้อมูลเกี่ยวกับ ของเหลวหรือแก๊ส ที่มีคุณสมบัติในการ “ไหล” จากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง เรียกได้ว่าทั้งสองอย่างนี้ เรียกอีกอย่างว่า “ของไหล”

การศึกษาทฤษฎี ของไหลนั้น มีการชี้ให้เห็นว่า ของไหลดังกล่าว เป็นของไหลตามกฎ ซึ่งหมายถึงเป็นการไหลอย่างสม่ำเสมอ มีความหนาแน่น ที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไหลโดยไม่มีอะไร มาต้านทานได้

อีกทั้งการไหลนั้น จำไม่มีการย้อนกลับอีกด้วย โดยมีการเอาสมการต่อเนื่อง (Equation of Continuity) กับสมการแบร์นูลี มาชี้แจงเรื่องของการไหล ตามทฤษฎีพวกนี้ได้

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้ที่ค้นพบก็คือ แดเนียล แบร์นูลลี นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ เขาเห็นว่าหากของไหล มีความเร็ว (พลังงานจลน์) มากขึ้น แรงดันรวมถึงพลังงานศักย์ ของสิ่งเหล่านี้ ก็จะน้อยลงไปด้วย

เป็นไปตามทฤษฎีที่หนึ่ง ของเทอร์โมไดนามิกส์ ที่ได้อธิบายว่า สิ่งที่ได้ทั้งหมด จากพลังงานในของไหล นั้นจะไม่เปลี่ยนแปลง และไม่มีการสร้างเพิ่ม หรือทำลายได้

เพื่อให้เห็นภาพ ของทฤษฎีดังกล่าว ให้มองไปที่น้ำไหล ผ่านท่อน้ำหนึ่ง ซึ่งจะมีแรงดันเกิดขึ้น หากโมเลกุลของน้ำสัมผัสกับ พื้นผิวท่อ แต่ถ้าขนาดของท่อน้ำ นั้นแคบลงไป ก็จะทำให้น้ำ ไหลได้เร็วขึ้น

ตามทฤษฎีของโมเมนตัม ที่เกิดความเร็วมากขึ้น แรงดันกับพลังงานศักย์ของน้ำ ที่อยู่ในบริเวณนั้น ๆ ก็จะลดลง เนื่องจากโมเลกุลของน้ำ จะสามารถไปกระทบ กับผิวท่อได้ลดลง หากมีการเคลื่อนที่ ไปเร็วกว่าเดิม

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น

ซึ่งหลักการดังกล่าว ทริคทีเด็ดกีฬานานาชนิด ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น ที่ถูกนำไปปรับใช้กับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันหลายอย่าง ถึงแม้ว่าความจริง จะไม่มีของไหลใด เป็นของไหลตามทฤษฎี

แต่การยกตัวของเครื่องบิน หรือแรงกดของ รถแข่งฟอร์มูล่าวัน ก็มีวิธีการคำนวณ ที่ต้องอาศัย ทฤษฎีของแบร์นูลลีได้ อย่างเทียบเท่ากับค่าจริง ถึงแม้ว่าผู้คิดค้น สมการดังกล่าว จะเกิดขึ้นในยุค ที่ยังไม่มีเครื่องบิน และรถแข่งความเร็วสูงนี้อยู่

จากการ แข่งขันว่ายน้ำ ความต้องการของนักกีฬา ถือว่าไม่ได้ยุ่งยากเท่าไหร่ เพราะไม่ว่าจะเป็นการ ว่ายท่าสปรินต์ ที่จะว่ายระยะทางใกล้ หรือ วิธี ว่า ย น้ำระยะไกล ล้วนต้องมีการคำนวณพลัง ในการว่ายให้เพียงพอ จนครบระยะที่กำหนด ทั้งหมดล้วนตัดสินกัน ด้วยเกณฑ์เดียวกันว่า นักว่ายน้ำคนไหน ที่ใช้เวลาน้อยสุด ในการเข้าเส้นชัย

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น เนื่องจากที่ตัดสินกัน จากความเร็วนี้ คนในยุคก่อน มีการใช้วิธีการที่ว่า แขนและฝ่ามือจะต้อง ตั้งฉากกับเส้นทางที่จะไป ซึ่งยึดตามทฤษฎี ข้อสามของนิวตัน ที่ได้กล่าวไว้ว่า

แรงกิริยาจะเท่ากับ แรงปฏิกิริยา แต่มีทิศทาง ตรงข้ามกัน โดยการที่ใช้แรงปฏิกิริยา ที่จ้วงมือไปข้างหลัง ในทิศทางตรง หรือตีสโตรกลักษณะตัวไอ เป็นเหมือนแรงขับเคลื่อน ให้ร่างกายพุ่งตัวไป ข้างหน้าได้เร็วที่สุด

อีกทั้งยังมีการใช้ วิธีการเช่นนี้ ยึดตามกันมาจนถึง 1980s เลยทีเดียว ซึ่งวิธีการดังกล่าว ถือว่าไม่ใช่สิ่งที่แย่ แต่นักกีฬาในปัจจุบัน เริ่มพัฒนาหันมาใช้เทคนิค “Sculling” หรือตีสโตรก ในลักษณะตัวเอส ซึ่งมือของ นักว่ายน้ำ มีการเปลี่ยนเป็น เอียงทำมุมเล็กน้อย ทำให้เกิดแรงยกตัว เช่นเดียวกับปีกเครื่องบิน

โดยแรงยกตัวเช่นนี้ มีการเอามาใช้ร่วมกับ ทฤษฎีการดันน้ำไปข้างหลัง เป็นการทำให้ร่างกาย ของบรรดานักกีฬา สามารถพุ่งตัวในน้ำ ได้รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม เป็นเพราะว่า ในขณะที่นักกีฬา กำลังว่ายน้ำในสระ ทั้งแขนและมือได้ถูกแยก เป็นสองทางก็คือ ทางที่เป็น Ventral มีการกระทบอยู่กับ การไหลของน้ำ และทางที่เป็น Dorsal ซึ่งอยู่ข้างหลัง

โดยจากทฤษฎี ที่น้ำในท่อน้ำนั้น ฝั่งที่มีการกระทบ เข้าหากันทำให้เกิด แรงดันสูง และฝั่งข้างหลังนั้น นั้นเกิด ความเร็ว ในการ ว่า ย น้ำ สูง แต่แรงดันไม่เยอะ โดยการใช้วิธีการ “Sculling” ช่วยให้เป็นแรงยก ขึ้นมาได้อีก เป็นการมาชดเชย แรงปฏิกิริยาซึ่งจะน้อยกว่า การทำสโตรกลักษณะตัวไอ ซึ่งตามกฎพวกนี้ อาจทำให้ช่วยนักว่ายน้ำ พุ่งตัวในน้ำ ได้ไวขึ้นกว่าเดิม

ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น

ด้วยเหตุนี้เอง เพราะว่าร่างกาย ของนักกีฬาพวกนี้ จะมีการหมุนตัวบ้าง ในขณะที่ตีสโตรก จึงทำให้ฝ่ามือ ของนักกีฬาว่ายน้ำ เหมือนกำลังมีลักษณะ “Sculling” หากเปรียบกับตำแหน่ง ของร่างกาย

แต่ถ้าเปรียบกับ ทิศทางการไหล ของน้ำที่สระแล้ว วิธีการที่ได้เอามาใช้ ที่ยึดใช้กันมา จนถึงตอนนี้ ก็คือการตีสโตรก ในลักษณะตั้งฉาก กับการพุ่งตัวหรือ ใช้ในลักษณะตัวไอ เป็นหลักแทน

ถึงแม้ว่าข้อมูล ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น ที่มีการศึกษาในยุคใหม่ มีการเปิดเผยว่า การทำสโตรกในลักษณะตัวไอ จะเคลื่อนไหวได้น้อยกว่า การทำในลักษณะตัวเอส หรือใช้วิธีการที่เรียกว่า แบร์นูลลีมาช่วย เนื่องจากว่าบรรดานักกีฬาอาชีพ ก็มีการฝึกฝนร่างกาย เพื่อการแข่งขันนี้เช่นกัน

ด้วยความที่ว่า พลังของนักกีฬาจะช่วย ทดแทนส่วนดังกล่าว ว่า ย น้ำ ถูกวิธี จนทำให้ว่ายเข้าเส้นชัยได้ ในระยะเวลาที่ น่าพึงพอใจอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกหลายประเด็น ในทฤษฎีเรื่องการไหล

ซึ่งหลายคนยังไม่เข้าใจ เรื่องราว ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น พวกนี้ ได้อย่างลึกซึ้ง รวมถึงการทำงานต่าง ๆ เกี่ยวกับอวัยวะของมนุษย์ ซึ่งอาจทำให้เรา ต้องได้มาโต้เถียง เรื่องวิธีการของแบร์นูลลี กันอีกหลายรอบ

ในการวิเคราะห์ว่า ผู้คนสามารถทำอะไร ที่ประสบความสำเร็จ จากทฤษฎีความรู้ใหม่ ในอนาคตกันได้บ้าง ซึ่งเรื่องพวกนี้ อาจจะเร็วเกินไป ที่จะตัดสินเกี่ยวกับ เรื่องของ หลักการพวกนี้ นั้นสามารถพิสูจน์ได้หรือไม่ ที่มีส่วนช่วยให้ นักกีฬาว่ายน้ำ ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น และสามารถใช้เวลาน้อยขึ้น

แต่อย่างไรก็ดี ทฤษฎีเกี่ยวกับการ ว่ายน้ำให้เร็วขึ้น เรื่องแบร์นูลลี และอีกหลาย ๆ ทฤษฎี ที่ถูกค้นพบขึ้นมา ถือได้ว่าคือหนึ่ง ในตัวช่วยที่จะทำ ให้ นักกีฬาทั้งหลาย ก้าวข้ามขีดจำกัด ของร่างกายตัวเอง อีกทั้งยังสามารถ สร้างสถิติใหม่ขึ้นมาได้ และดีกว่าสถิติเดิม ที่เคยมีมาอีกด้วย @UFA-X10 

 

เรียบเรียงโดย อลิส